ผลกระทบของรายการค้าที่มีต่อสมการบัญชีและฐานะการเงิน
ตัวอย่างที่แสดงถึงผลกระทบของพิทักษ์การพิมพ์ ซึ่งเป็นกิจการรับพิมพ์งาน
รายการค้าในเดือนเมษายน
25x1
ซึ่งเป็นเดือนแรกของการเปิดกิจการ ดังนี้
เมษายน
1
นายพิทักษ์นำเงินสดมาลงทุน 100,000 บาท และอาคาร
300,000 บาท มาลงเป็นทุน
วิเคราะห์ สินทรัพย์
:
เงินสด
เพิ่ม
100,000
บาท
อาคาร
เพิ่ม
300,000
บาท
ส่วนของเจ้าของ :
ทุน-นายพิทักษ์
เพิ่ม
400,000 บาท
สมการบัญชี
สินทรัพย์
=
หนี้สิน +
ส่วนของเจ้าของ
400,000
=
0
+ 400,000
400,000
=
400,000
ฐานะการเงิน
ณ วันที่
1
เมษายน 25x1 จะเป็นดังนี้
พิทักษ์การพิมพ์
งบดุล
ณ วันที่
1
เมษายน 25x1
หน่วย
:
บาท
สินทรัพย์
เงิน
สด
100,000
อาคาร
300,000
รวมสินทรัพย์
400,000
หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
ทุน-
นายพิทักษ์
400,000
_______
รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ
400,000
รายการที่
2
มกราคม
2
ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ (อุปกรณ์สำนักงาน) 2
เครื่อง ในราคาเครื่องละ 50,000 บาท โดยจ่ายเป็นเงินสด
20,000 บาท ที่เหลือจะจ่ายในเดือนถัดไป
วิเคราะห์
สินทรัพย์
:
อุปกรณ์สำนักงาน
เพิ่ม
100,000
บาท
เงินสด
ลด
20,000
บาท
หนีสิน :
เจ้าหนี้อื่น
เพิ่ม
80,000 บาท
สมการบัญชี
สินทรัพย์
=
หนี้สิน
+ ส่วนของเจ้าของ
(100,000 - 20,000)
=
80,000 +
0
80,000
=
80,000
ฐานะการเงิน ณ
วันที่
2
เมษายน 25x1 จะเป็นดังนี้
พิทักษ์การพิมพ์
งบดุล
ณ วันที่
2
เมษายน 25x1
หน่วย
:
บาท
สินทรัพย์
เงิน
สด
80,000
อาคาร
300,000
อุปกรณ์สำนักงาน
100,000
รวมสินทรัพย์
480,000
หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
เจ้าหนี้
อื่น
80,000
ทุน-
นายพิทักษ์
400,000
_______
รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ
480,000
รายการที่
3
มกราคม
15
ซื้อวัสดุบริการเป็นเงินเชื่อ 2,500 บาท
วิเคราะห์
สินทรัพย์
:
วัสดุบริการ
เพิ่ม
2,500
บาท
หนีสิน :
เจ้าหนี้การค้า
เพิ่ม
2,500 บาท
สมการบัญชี
สินทรัพย์
=
หนี้สิน +
ส่วนของเจ้าของ
2,500
=
2,500 +
0
2,500
=
2,500
ฐานะการเงิน ณ
วันที่
15
เมษายน 25x1 จะเป็นดังนี้
พิทักษ์การพิมพ์
งบดุล
ณ วันที่
15
เมษายน 25x1
หน่วย
:
บาท
สินทรัพย์
เงินสด
80,000
วัสดุบริการ
2,500
อาคาร
300,000
อุปกรณ์สำนักงาน
100,000
รวมสินทรัพย์
482,500
หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
เจ้าหนี้การค้า
2,500
เจ้าหนี้อื่น
80,000
ทุน-
นายพิทักษ์
400,000
_______
รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ
482,500
รายการที่
4
เมษายน
28
ให้บริการแก่นายสุชาติได้รับค่าบริการเป็นเงินสด 3,000
บาท
วิเคราะห์
สินทรัพย์
:
เงินสด
เพิ่ม
3,000
บาท
รายได้ :
รายได้ค่าบริการ
เพิ่ม
3,000 บาท
สมการบัญชี
สินทรัพย์
=
หนี้สิน +
ส่วนของเจ้าของ
3,000
=
0
+
3,000
3,000
=
3,000
ฐานะการเงิน ณ
วันที่
28
เมษายน 25x1 จะเป็นดังนี้
พิทักษ์การพิมพ์
งบดุล
ณ วันที่
28
เมษายน 25x1
หน่วย
:
บาท
สินทรัพย์
เงิน
สด
83,000
วัสดุบริการ
2,500
อาคาร
300,000
อุปกรณ์สำนักงาน
100,000
รวมสินทรัพย์
485,500
หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
เจ้าหนี้การค้า
2,500
เจ้าหนี้
อื่น
80,000
ทุน-
นายพิทักษ์
403,000
_______
รวมหนี้สินและส่วนของเจ้าของ
485,500
กระดาษวิเคราะห์รายการ
กระดาษวิเคราะห์รายการเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์รายการค้าที่เกิดขึ้นว่ามีผลกระทบต่อสมการบัญชี
ลักษณะของกระดาษวิเคราะห์รายการจะมีหัวกระดาษแสดงชื่อกิจการ
ชื่อกระดาษวิเคราะห์รายการ และวันเดือนปีที่จัดทำ ในตัวกระดาษจะแบ่งเป็น
2 ด้าน
ตามสมการบัญชี คือ ด้านสินทรัพย์ กับด้านหนี้สินและส่วนของเจ้าของ
และแบ่งเป็นช่องตามจำนวนชื่อบัญชี
ตัวอย่างการบันทึกรายการค้าในกระดาษวิเคราะห์รายการค้าของพิทักษ์การพิมพ์
ซึ่งดำเนินกิจการในเดือน พฤษภาคม
25x1
ซึ่งเป็นเดือนที่ 2 ต่อจากเดือนเมษายน 25x1
รายการค้าเดือนพฤษภาคม มีดังนี้
พฤษภาคม
1
นายพิทักษ์นำเงินสดมาลงทุนเพิ่มอีก 100,000
บาท
4
จ่ายชำระเจ้าหนี้ค่าคอมพิวเตอร์
80,000
บาท
8
ให้บริการพิมพ์งานให้กับลูกค้า เป็นเงิน
18,000
บาท แต่ยังไม่ได้รับเงิน
12
จ่ายค่าสาธารณูปโภคเป็นเงิน
1,500
บาท
19
จ่ายค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดเป็นเงิน
2,000
บาท
28
จ่ายเงินเดือนพนักงาน
6,000
บาท
28
นายพิทักษ์ถอนเงินมาใช้ส่วนตัว
50,000
บาท
พิทักษ์การพิมพ์
กระดาษวิเคราะห์รายการ
ประจำเดือน
พฤษภาคม
25x1
สินทรัพย์
=
หนี้สิน +
ส่วนของเจ้าของ
|
|||||||||
รายการ
|
เงินสด
|
ลูกหนี้การค้า
|
วัสดุบริการ
|
อาคาร
|
อุปกรณ์สำนักงาน
|
เจ้าหนี้การค้า
|
เจ้าหนี้อื่น
|
ทุน-นายพิทักษ์
|
ชื่อบัญชี
|
พ.ค.1
ยอดยกมา
1
|
83,000
100,000
|
-
|
2,500
|
300,000
|
100,000
|
2,500 |
80,000
|
403,000
100,000
|
เงินลงทุน |
คงเหลือ
4
|
183,000
(80,000) |
-
|
2,500
|
300,000
|
100,000
|
2,500 |
80,000
(80,000) |
503,000
|
|
คงเหลือ
8
|
103,000
|
-
18,000 |
2,500
|
300,000
|
100,000
|
2,500 |
-
|
503,000
18,000 |
รายได้บริการ |
คงเหลือ
12
|
103,000
(1,500) |
18,000 |
2,500
|
300,000
|
100,000
|
2,500 |
-
|
521,000
(1,500) |
ค่าสาธารณูปโภค
|
คงเหลือ
19
|
101,500
(2,000) |
18,000 |
2,500
|
300,000
|
100,000
|
2,500
|
-
|
519,500
(2,000)
|
ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด |
คงเหลือ
28
|
99,500
(6,000)
|
18,000
|
2,500
|
300,000
|
100,000
|
2,500
|
-
|
517,500
(6,000)
|
เงินเดือน |
คงเหลือ
28
|
93,500
(50,000)
|
18,000
|
2,500
|
300,000
|
100,000
|
2,500
|
-
|
511,500
(50,000)
|
เงินเดือน
|
43,500
|
18,000
|
2,500
|
300,000
|
100,000
|
2,500
|
-
|
461,500
|
การจัดทำงบการเงินจากกระดาษวิเคราะห์รายการ
เมื่อได้วิเคราะห์รายการค้าและบันทึกในกระดาษวิเคราะห์รายการแล้ว
ยอดคงเหลือของแต่ละวันคือฐานะการเงินของกิจการที่เปลี่ยนไป
และสามารถนำมาจัดทำงบดุลได้ทุกวัน การจัดทำงบการเงิน ณ วันสิ้นเดือน พฤษภาคม
25x1
มีดังนี้
พิทักษ์การพิมพ์
งบกำไรขาดทุน
สำหรับงวด
1
เดือน สิ้นสุดวันที่ 28 พฤษภาคม 25x1
หน่วย
: บาท
รายได้
บริการ
18,000
หัก ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
หัก ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
ค่าสาธารณูปโภค
1,500
ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด
2,000
เงิน
เดือน
6,000
9,500
กำไร
สุทธิ
8,500
พิทักษ์การพิมพ์
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ
สำหรับงวด
1
เดือน สิ้นสุดวันที่ 28 พฤษภาคม 25x1
หน่วย
: บาท
ทุน-
นาย
พิทักษ์
403,000
บวก
ลงทุนเพิ่ม
100,000
กำไรสุทธิ
8,500
108,500
รวม
511,500
หัก
เงินถอน
ทุน
50,000
ทุน-นาย
พิทักษ์
461,500
พิทักษ์การพิมพ์
งบดุล
ณ วันที่
28
เมษายน 25x1
หน่วย
:
บาท
สินทรัพย์
เงิน
สด
43,500
ลูกหนี้การ
ค้า
18,000
วัสดุบริการ
2,500
อาคาร
300,000
อุปกรณ์สำนัก
งาน
100,000
รวม
สินทรัพย์
464,000
หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
เจ้าหนี้การ
ค้า
2,500
ทุน-นาย
พิทักษ์
461,500
รวมหนี้สินและส่วนของเจ้า
ของ
464,000
สมการบัญชี
(Accounting
Equation)
สมการบัญชี หมายถึงสมการที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสินทรัพย์ หนี้สิน
และส่วนของเจ้าของ
หรือเรียกว่า
สมการงบดุล
(Balance Sheet Equation)
Asset
=
Liabilities + Equity
หรือ
A
=
L + E
การวิเคราะห์รายการค้า
การวิเคราะห์รายการค้าจะนำไปบันทึกในสมุดบัญชีที่เกี่ยวข้อง
โดยต้องบันทึกเป็นรายการ เดบิต เครดิต ตามแบบฟอร์มของสมุดบัญชี
เดบิต
(Debit)
เป็นการบันทึกบัญชีทางด้านซ้าย ซึ่งจะเป็นการเพิ่มหรือลด
ขึ้นอยู่กับประเภทของรายการ โดยเดบิตจะใช้ย่อว่า
“Dr.”
เครดิต
(Credit)
เป็นการบันทึกบัญชีทางด้านขวามือ ซึ่งจะเป็นการเพิ่มหรือลด
ขึ้นอยู่กับประเภทของรายการ โดยเดบิตจะใช้ย่อว่า
“Cr.”
จากสมการบัญชีถ้านำรายได้และค่าใช้จ่ายเข้ามาในสมการบัญชีจะได้ดังนี้
สินทรัพย์
= หนี้สิน +
ส่วนของเจ้าของ + รายได้
- ค่าใช้จ่าย
-
รายการประเภทสินทรัพย์และค่าใช้จ่ายมียอดคงเหลือปกติทางด้านเดบิต ดังนั้น
ถ้าเดบิตบัญชีทั้งสองประเภท หมายถึง บวกหรือเพิ่ม แต่ถ้าเครดิต หมายถึง หักหรือลด
-
รายการประเภทหนี้สิน ส่วนของเจ้าของ และรายได้มียอดคงเหลือปกติด้านเครดิต ดังนั้น
ถ้าเดบิตบัญชีทั้ง
3
ประเภท หมายถึง หักหรือลด แต่ถ้าเครดิต หมายถึง บวกหรือเพิ่ม
ตารางที่
2.1
สรุปหลักของเดบิต และเครดิต
ประเภทบัญชี
|
เพิ่มขึ้น
|
ลดลง
|
ยอดคงเหลือปกติ
|
สินทรัพย์
หนี้สิน
ส่วนของเจ้าของ
รายได้
ค่าใช้จ่าย
|
เดบิต
เครดิต
เครดิต
เครดิต
เดบิต
|
เครดิต
เดบิต
เดบิต
เดบิต
เครดิต
|
เดบิต
เครดิต
เครดิต
เครดิต
เดบิต
|
หลักการบัญชีคู่
(Double – Entry Concept)
หมายถึง
หลักการบันทึกผลกระทบของรายการค้าหนึ่งๆ ที่มีต่อสินทรัพย์ หนี้สิน
และส่วนของเจ้าของ
และเป็นการบันทึกรายการเดบิตและเครดิตนั้นต้องให้จำนวนเงินที่บันทึกในบัญชีทั้ง 2
ด้านเท่ากันเสมอซึ่งเรียกว่าระบบบัญชีคู่
ซึ่งตามระบบบัญชีคู่นั้นไม่จำเป็นที่จำนวนรายการทั้ง 2
ด้านต้องเท่ากันเพียงแต่ยอดรวมของจำนวนเงินทั้งด้านเดบิตและเครดิตต้องเท่ากันเท่านั้น
ตัวอย่าง
รายการที่
1
บริษัท สหการ จำกัด ออกจำหน่ายหุ้นสามัญ
10,000
หุ้น ราคาตามมูลค่า 10 บาท ในราคา 15
บาท
วิเคราะห์
เงินสด
เพิ่ม :
สินทรัพย์
เพิ่ม บันทึก เดบิต
150,000 บาท
ทุนเรือนหุ้น
เพิ่ม
:
ส่วนของผู้ถือหุ้น เพิ่ม บันทึก
เครดิต 100,000
บาท
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น เพิ่ม
: ส่วนของผู้ถือหุ้น
เพิ่ม บันทึก เครดิต
50,000 บาท
หลักบัญชีคู่
เดบิต
= เครดิต
150,000
=
150,000
รายการที่
2
ซื้ออุปกรณ์สำนักงานเป็นเงินสด
20,000
บาท
วิเคราะห์
อุปกรณ์สำนักงาน เพิ่ม
สินทรัพย์ เพิ่ม
บันทึก เดบิต
20,000
บาท
เงินสด
ลด สินทรัพย์
ลด บันทึก
เครดิต
20,000
บาท
หลักบัญชีคู่
เดบิต
= เครดิต
20,000
=
20,000
รายการที่
3
บริษัทประกาศจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นเป็นเงิน
30,000
บาท
วิเคราะห์
เงินปันผล
เพิ่ม
: ส่วนของผู้ถือหุ้น
ลด
บันทึก เดบิต
30,000
บาท
เงินปันผลค้างจ่าย เพิ่ม
:
หนี้สิน
เพิ่ม บันทึก
เครดิต 30,000
บาท
หลักบัญชีคู่
เดบิต
= เครดิต
30,000
=
30,000
รายการที่
4
ส่งใบแจ้งหนี้เรียกเก็บเงินจากลูกค้าสำหรับบริการที่ทำเสร็จแล้ว
15,000
บาท
วิเคราะห์
ลูกหนี้การค้า
เพิ่ม
: สินทรัพย์
เพิ่ม บันทึก
เดบิต 15,000
บาท
รายได้ค่าบริการ
เพิ่ม :
รายได้ เพิ่ม
บันทึก เครดิต
15,000 บาท
หลักบัญชีคู่
เดบิต
= เครดิต
15,000
=
15,000
รายการที่
5
บริษัทจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นตามที่ได้ประกาศไว้เป็นเงิน
30,000
บาท
วิเคราะห์
เงินปันผลค้างจ่าย
ลด
: หนี้สิน
ลด บันทึก
เดบิต 30,000
บาท
เงินสด
ลด
:
สินทรัพย์ ลด บันทึก
เครดิต 30,000
บาท
หลักบัญชีคู่
เดบิต
= เครดิต
30,000
=
30,000
ขั้นตอนการบันทึกบัญชีและการวิเคราะห์รายการค้า
1.
การบันทึกรายการค้าในสมุดบันทึกรายการขั้นต้น เรียกว่า สมุดรายวัน
(Journal)
โดยเรียงลำดับตามวันที่ที่เกิดรายการค้า ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.1
สมุดรายวันทั่วไป
(General Journal)
เป็นสมุดบันทึกรายการขั้นต้นที่บันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน
รวมทั้งการปรับปรุงรายการ การเปิดบัญชี การปิดบัญชี การกลับรายการ
ลักษณะของสมุดรายวันทั่วไป มีดังนี้
สมุดรายวันทั่วไป
หน้า ......
วัน
เดือน ปี
Date
|
รายการ
Transaction
|
อ้างอิง
Ref.
|
เดบิต
Debit
|
เครดิต
Credit
|
1.2
สมุดรายวันเฉพาะ
(Special Journal)
เป็นสมุดบันทึกรายการขั้นต้นที่ใช้บันทึกแต่ละรายการค้าโดยเฉพาะตามประเภทที่ระบุไว้
โดยบันทึกรายการที่เกิดขึ้นบ่อยๆ ไว้ด้วยกัน
หากมีรายการค้าเกิดขึ้นที่ไม่ใช่ประเภทเดียวกับที่จะสามารถบันทึกไว้ในสมุดรายวันเฉพาะแต่ละเล่มได้ก็จะบันทึกไว้ในสมุดรายวันทั่วไป
สมุดรายวันเฉพาะได้แก่
-
สมุดรายวันรับเงิน
-
สมุดรายวันจ่ายเงิน
-
สมุดรายวันซื้อ
-
สมุดรายวันขาย
การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
ช่องที่
1
ช่อง วัน เดือน ปี ใช้สำหรับบันทึก วัน เดือน ปี ที่เกิดรายการนั้นๆ
ช่องที่
2
ช่องรายการ ใช้สำหรับบันทึกบัญชี และอธิบายรายการค้าที่เกิดขึ้น
ช่องที่
3
ช่องอ้างอิง ใช้สำหรับบันทึกเลขที่บัญชี หรือหน้าบัญชีที่ผ่านบัญชี
ช่องที่
4
และช่องที่ 5
ช่องเดบิต และช่องเครดิต ใช้สำหรับบันทึกจำนวนเงินด้านเดบิต หรือเครดิต
สมุดบัญชีแยกประเภท
(Ledger)
เป็นบัญชีที่ใช้ในการบันทึกรายการค้าที่เหมือนกันมาบันทึกไว้ด้วยกัน
เพื่อจะรวมยอดคงเหลือของรายการนั้นๆ ในงวดเวลาใดเวลาหนึ่งที่จัดทำงบการเงิน
ซึ่งทำต่อจากสมุดรายวันเพื่อใช้ในการผ่านบัญชีมาจากสมุดรายวันทั่วไป
บัญชีแยกประเภทมีหลายรูปแบบคือ
1.
บัญชีแยกประเภทรูปตัวที
2.
บัญชีแยกประเภทชนิดแบ่งเป็น 3 ช่อง
3.
บัญชีแยกประเภทชนิดแบ่งเป็น 4 ช่อง
ตัวอย่างตารางบัญชีแยกประเภทรูปตัวที
ชื่อบัญชี
เลขที่บัญชี.......
วัน
เดือน ปี
|
รายการ
|
อ้าง
อิง
|
จำนวนเงิน
|
วันเดือน ปี
|
รายการ
|
อ้าง
อิง
|
จำนวนเงิน
|
โดยบัญชีแยกประเภทรูปตัวทีเป็นรูปแบบที่นิยมมากที่สุด อธิบายได้ดังนี้
ชื่อบัญชี
แสดงชื่อรายการค้าที่นำมาบันทึกบัญชีที่ต้องการจะรวมยอดคงเหลือ
เลขที่บัญชี
แสดงเลขที่บัญชีที่ได้กำหนดไว้จากชื่อบัญชี
เดบิต
เป็นรายการทางด้านซ้ายมือของบัญชีแยกประเภท
เครดิต
เป็นรายการทางด้านขวามือของบัญชีแยกประเภท
วัน เดือน ปี
แสดงวันที่ที่เกิดรายการที่ผ่านบัญชีมา
รายการ
แสดงชื่อบัญชีที่บันทึกตรงกันข้ามกันไว้
อ้างอิง
แสดงเลขที่หน้าของสมุดรายวันทั่วไปที่รายการค้าที่นำมาผ่านในบัญชีแยกประเภทได้บันทึกไว้ในสมุดรายวันทั่วไป
จำนวนเงิน
แสดงจำนวนของรายการค้าแต่ละรายการที่ผ่านมาจากสมุดรายวันทั่วไป
ผังบัญชี
(Chart of
Account)
เป็นชื่อบัญชีและเลขที่บัญชีที่กิจการกำหนดขึ้นก่อนจะทำการวิเคราะห์รายการค้า
สำหรับเลขที่บัญชีมีไว้เพื่อใช้ในการอ้างอิงเวลาผ่านบัญชีไปสมุดบัญชีแยกประเภท
และเพื่อความสะดวกในการบันทึกข้อมูลและการอ้างอิงรวมทั้งในการสรุปจำนวนเงินของแต่ละรายการ
เลขที่บัญชีอาจจะมีตัวเลขหลายๆ หลัก ขึ้นอยู่กับความใหญ่เล็กของกิจการ เช่น
ถ้ากิจการมีเลขที่บัญชี
3 หลัก
หลักที่ 1 หมายถึงประเภทบัญชี หลักที่ 2
หมายถึงหมวดหมู่บัญชี และหลักที่ 3 หมายถึงจำนวนบัญชี
เป็นต้น ตัวอย่างเช่น
หลักที่
1
ประเภทบัญชี มีดังนี้
สินทรัพย์
แทนตัวเลข
1
หนี้สิน
แทนตัวเลข
2
ทุน
แทนตัวเลข
3
รายได้
แทนตัวเลข
4
ค่าใช้จ่าย
แทนตัวเลข
5
หลักที่
2
หมวดหมู่บัญชีมีดังนี้
สินทรัพย์หมุนเวียน
แทนตัวเลข
1
เช่น
11
เงินลงทุนระยะยาว
แทนตัวเลข
2
เช่น 12
หนี้สินระยะยาว
แทนตัวเลข
2
เช่น 22
หลักที่
3
จำนวนบัญชี กำหนดเรียงลำดับตาม ประเภทบัญชีและหมวดหมู่บัญชี เช่น
บัญชีเงินสด
เลขที่
111
บัญชีลูกหนี้การค้า
เลขที่
112
บัญชีทุน
เลขที่
311
ในการกำหนดเลขที่บัญชี โดยปกติ จะใช้เลขที่บัญชีเป็นตัวเลข โดย
บัญชีประเภทสินทรัพย์ จะขึ้นต้นด้วยเลข
1 เช่น
บัญชีเงินสด
111
บัญชีลูกหนี้การค้า
112
บัญชีประเภทหนี้สิน จะขึ้นต้นด้วยเลข
2 เช่น
บัญชีเจ้าหนี้การค้า
211
บัญชีเจ้าหนี้เงินกู้
221
บัญชีประเภททุน จะขึ้นต้นด้วยเลข
3 เช่น
บัญชีทุน
311
บัญชีเงินถอน
312
บัญชีประเภทรายได้ จะขึ้นต้นด้วยเลข
4 เช่น
บัญชีรายได้ค่าบริการ
411
บัญชีรายได้ดอกเบี้ย
412
บัญชีประเภทค่าใช้จ่าย จะขึ้นต้นด้วยเลข
5 เช่น
บัญชีเงินถอน
512
บัญชีค่าโทรศัพท์
513
วิธีการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
มีขั้นตอนดังนี้
ตัวอย่าง
วันที่
1
มกราคม 25x1 นายพิทักษ์นำเงินสดมาลงทุนในกิจการ
500,000 บาท บันทึกดังนี้
สมุดรายวันทั่วไปหน้า ......
วัน
เดือน ปี
Date
|
รายการ
Transaction
|
อ้างอิง
Ref.
|
เดบิต
Debit
|
เครดิต
Credit
|
รายการร่วม
คือ รายการบัญชีที่มีบัญชีทางด้านเดบิต หรือเครดิต มากกว่า
1
บัญชี
ตัวอย่าง
ในวันที่
1
สิงหาคม 25x1
กิจการแห่งหนึ่งซื้ออุปกรณ์สำนักงานราคา 30,000 บาท
โดยจ่ายเป็นเงินสดเพียง 10,000 บาท ที่เหลือจ่ายทีหลัง
รายการบัญชีบันทึกดังนี้
สมุดรายวันทั่วไปหน้า ......
วัน
เดือน ปี
Date
|
รายการ
Transaction
|
อ้างอิง
Ref.
|
เดบิต
Debit
|
เครดิต
Credit
|
การผ่านบัญชีจากสมุดรายวันไปสมุดบัญชีแยกประเภท
หมายถึง
การนำรายการบัญชีที่ได้บันทึกไว้แล้วในสมุดรายวันทั่วไปด้านเดบิต
และเครดิตไปบันทึกในสมุดบัญชีแยกประเภท มีขั้นตอนดังนี้
1.
เขียนชื่อบัญชีแยกประเภทนั้นเพื่อให้ทราบว่าบัญชีนั้นคือบัญชีอะไร เช่น บัญชีเงินสด
บัญชีลูกหนี้การค้า บัญชีทุน-
นายพิทักษ์ เป็นต้น
2.
เขียนเลขที่บัญชีของบัญชีนั้นๆ บนด้านขวามือของบัญชีแยกประเภท เช่น บัญชีเงินสด
เลขที่
111
3.
บันทึก วัน
เดือน ปี ที่ผ่านรายการนั้นจากสมุดรายวันลงในบัญชีแยกประเภท
4.
บันทึกตัวเลขจำนวนเงินทางด้านเดบิต ไปยังด้านซ้ายของบัญชีแยกประเภทที่เดบิต
5.
บันทึกตัวเลขจำนวนเงินทางด้านเครดิตไปยังด้านขวาของบัญชีแยกประเภทที่เครดิต
6.
เขียนอธิบายรายการด้วยชื่อบัญชีที่ตรงข้ามกับบัญชีที่เกี่ยวข้องในช่องรายการในช่องรายการในกรณีที่มีรายการร่วม
ซึ่งมีบัญชีตรงข้ามหลายบัญชีให้เขียนในช่องรายการด้วยคำว่า
“บัญชีต่างๆ”
7.
เขียนเลขที่บัญชีแยกประเภทในช่องอ้างอิงในสมุดรายวันทั่วไป
8.
เขียนเลขที่หน้าบัญชีในสมุดราวันทั่วไป ในช่องอ้างอิงของบัญชีแยกประเภท เช่น รว.1
คือ สมุดรายวันทั่วไป หน้า 1
การคำนวณหายอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภท
การคำนวณหายอดคงเหลือ หมายถึง
การคำนวณหายอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทเพื่อนำยอดที่ได้ไปจัดทำงบทดลอง
การคำนวณหายอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภท
มีขั้นตอนดังนี้
1.
ให้รวมจำนวนเงินทางด้านเดบิต
และเขียนจำนวนเงินที่รวมได้ด้วยดินสอไว้ใต้รายการสุดท้าย ในช่องจำนวนเงินด้านเดบิต
2.
ให้รวมจำนวนเงินทางด้านเครดิต
และเขียนจำนวนเงินที่รวมได้ด้วยดินสอไว้ใต้รายการสุดท้าย ในช่องจำนวนเงินด้านเครดิต
3.
ถ้าบัญชีใดมีจำนวนเดียวก็ไม่ต้องรวมยอด
4.
ให้คำนวณหาผลต่างระหว่างยอดรวมด้านเดบิต และด้านเครดิต
ถ้ายอดรวมทางด้านเดบิตสูงกว่าเครดิต เรียกว่ายอดคงเหลือด้านเดบิต
ให้ใส่ยอดคงเหลือไว้ในช่องรายการหน้าจำนวนเงินรวมทางด้านเดบิต
และเช่นเดียวกันในกรณีที่ยอดรวมทางด้านเครดิตสูงกว่าเดบิตเรียกว่ายอดคงเหลือทางด้านเครดิต
ก็ให้ใส่ยอดคงเหลือไว้ในช่องรายการหน้าจำนวนเงินรวมทางด้านเครดิต
งบทดลอง
เป็นงบที่จัดทำขึ้นเพื่อพิสูจน์ความถูกต้องเบื้องต้นของการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป
ขั้นตอนต่างๆ
ในการจัดทำงบทดลอง มีดังนี้
1.
เขียนส่วนหัวงบทดลอง ซึ่งประกอบด้วย ชื่อกิจการ ชื่องบทดลอง และ วัน เดือน ปี
ที่จัดทำ
2.
ตัวงบทดลองมี
3
ช่อง คือ ชื่อบัญชี จำนวนเงินด้านเดบิต และจำนวนเงินด้านเครดิต
3.
นำยอดคงเหลือจากบัญชีแยกประเภทมาใส่ในงบทดลอง
โดยบัญชีใดมียอดคงเหลือด้านเดบิตใส่ในช่องเดบิต
และบัญชีใดมียอดคงเหลือด้านเครดิตใส่ในช่องเครดิต
บัญชีใดไม่มียอดคงเหลือไม่ต้องนำมาลงในงบทดลอง
4.
เรียงตามลำดับประเภทของบัญชี เริ่มจากสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้
และค่าใช้จ่าย
5.
รวมยอดทางด้านเดบิต และด้านเครดิต ทั้งสองด้านต้องเท่ากัน
ตัวอย่างงบทดลอง
พิทักษ์การพิมพ์
งบทดลอง
วันที่
31
เมษายน 25x1
หน่วย
: บาท
เงินสด
380,000
ลูกหนี้การค้า
14,000
วัสดุบริการ
20,000
อุปกรณ์สำนักงาน
160,000
เจ้าหนี้
อื่น
160,000
ทุน-
นายพิทักษ์
500,000
ถอนเงิน-
นายพิทักษ์
100,000
รายได้ค่า
บริการ
29,000
เงินเดือน
10,000
ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด
5,000
_______
689,000
689,000
ตัวอย่าง
การวิเคราะห์รายการค้าและการบันทึกบัญชีพิทักษ์การพิมพ์
รายการค้าซึ่งเป็นเดือนแรกของการดำเนินกิจการ มีดังนี้
เมษายน
1
นายพิทักษ์ นำเงินสดมาลงทุน 500,000
บาท
2
ซื้ออุปกรณ์สำนักงานเป็นเงินเชื่อ
20,000
บาท
13
ซื้อวัสดุบริการจำนวน 20,000 บาท
โดยจ่ายเป็นเงินสดเพียง 12,000 บาท
15
ได้รับรายได้บริการเป็นเงินสด
15,000 บาท
17
ส่งใบแจ้งหนี้เรียกเก็บเงินจากลูกค้ารายหนึ่งเป็นเงิน
14,000 บาท แต่ยังไม่ได้รับเงิน
19
ส่งคืนอุปกรณ์จำนวนหนึ่งซึ่งชำรุดเป็นเงิน 40,000
บาท
22
จ่ายชำระค่าวัสดุที่ส่งมาในวันที่ 13
ในส่วนที่เหลือ
29
จ่ายเงินเดือน 10,000 บาท
และจ่ายค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด
31
นายพิทักษ์ได้ถอนเงินไปใช้ส่วนตัว 100,000
บาท
ให้ทำ
1.
วิเคราะห์รายการค้า
2.
บันทึกรายการลงในสมุดรายวันทั่วไป และผ่านรายการไปยังสมุดบัญชีแยกประเภท
3.
จัดทำงบทดลอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น